• ประวัติศาสตร์เขตพระนครผ่านวรรณกรรม ตัวละคร ผลงานศิลปะ ที่สำคัญในเขตพระนคร

    ประวัติศาสตร์สุนทรภู่

  • ประวัติศาสตร์เขตพระนครผ่านวรรณกรรม ตัวละคร ผลงานศิลปะ ที่สำคัญในเขตพระนคร

    วรรณกรรมสี่แผ่นดิน

  • ประวัติศาสตร์เขตพระนครผ่านวรรณกรรม ตัวละคร ผลงานศิลปะ ที่สำคัญในเขตพระนคร

    ประวัติศาสตร์ผ่านประติมากรรม

  • ประวัติศาสตร์เขตพระนครผ่านวรรณกรรม ตัวละคร ผลงานศิลปะ ที่สำคัญในเขตพระนคร

    ศิลปะ วรรณกรรม การแสดง
    สมัยรัตนโกสินทร์

    PHRANAKHON STORY

    โครงการประวัติศาสตร์ศิลปวัฒนธรรมสร้างสรรค์สื่อร่วมสมัยให้หัวใจพระนครSupported by Thai Media Fund

    ประวัติศาสตร์สุนทรภู่

    ผู้สร้างวรรณกรรมแห่งพระนคร

    พระสุนทรโวหาร (นามเดิม “ภู่”) หรือที่เรารู้จักกันทั่วไปว่า “สุนทรภู่” เกิดเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ที่บริเวณด้านเหนือของ “พระราชวังหลัง” หรือบริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อยในปัจจุบัน ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ บิดาของสุนทรภู่เป็นชาวบ้านกร่ำ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ส่วนมารดาเป็นชาวเมืองอื่น ในวัยเด็ก สุนทรภู่อาศัยอยู่ในพระราชวังหลังกับมารดา และมีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนวิชาการต่าง ๆ ในสำนักพระภิกษุที่มีชื่อเสียง สำนักชีปะขาว (ปัจจุบันคือวัดศรีสุดาราม) และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนัก (หรือผู้ทำหน้าที่ทางหนังสือในราชสำนัก) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี “สุนทรภู่” ไม่ใช่ชื่อจริง แต่เป็นนามแฝงที่เกิดจากการนำคำว่า “สุนทร” ในชื่อบรรดาศักดิ์ “ขุนสุนทรโวหาร” ที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มารวมกับชื่อจริงว่า “ภู่” สุนทรภู่มีใจรักรักด้านกาพย์กลอนและเป็นกวีที่มีความชำนาญทางการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นผลมากจากประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีโอกาสได้ซึมซับความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม และศิลปะการแสดงต่าง ๆ ในพระราชวังหลัง สุนทรภู่หมั่นเพิ่มพูนประสบการณ์ในการประพันธ์ด้วยการรับจ้างแต่งเพลงและบทกลอนมากมายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและคารมที่คมคาย สุนทรภู่จึงเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกวี และมีชื่อเสียงมากขึ้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 สุนทรภู่ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น “พระสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2398 ขณะที่อายุ 69 ปี และเนื่องจากสุนทรภู่มีชีวิตอยู่ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่จึงได้รับสมญานามว่า “กวีสี่แผ่นดิน”

    พิพิธภัณฑ์สุนทรภู่ ตั้งอยู่ที่ วัดเทพธิดาราม (Wat Thepthidaram เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ถ.มหาไชย กรุงเทพฯ และเคยเป็นที่พำนักของสุนทรภู่กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ระหว่าง พ.ศ. 2383 – 2385 เมื่อคราวบวชเป็นพระภิกษุ ปัจจุบันวัดเทพธิดารามได้เก็บรวบรวมเครื่องอัฐบริขารในกุฏิสุนทรภู่ และเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ พื้นที่ประวัติศาสตร์มีชีวิต ที่ท่านสุนทรภู่ได้รังสรรค์ผลงานไว้มากมาย อาทิเรื่องพระอภัยมณี ให้แก่คนรุ่นหลังได้เยี่ยมชม“สุนทรภู่” ไม่ใช่ชื่อจริง แต่เป็นนามแฝงที่เกิดจากการนำคำว่า “สุนทร” ในชื่อบรรดาศักดิ์ “ขุนสุนทรโวหาร” ที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มารวมกับชื่อจริงว่า “ภู่” สุนทรภู่มีใจรักรักด้านกาพย์กลอนและเป็นกวีที่มีความชำนาญทางการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นผลมากจากประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีโอกาสได้ซึมซับความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม และศิลปะการแสดงต่าง ๆ ในพระราชวังหลัง สุนทรภู่หมั่นเพิ่มพูนประสบการณ์ในการประพันธ์ด้วยการรับจ้างแต่งเพลงและบทกลอนมากมายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและคารมที่คมคาย สุนทรภู่จึงเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกวี และมีชื่อเสียงมากขึ้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 สุนทรภู่ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น “พระสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2398 ขณะที่อายุ 69 ปี และเนื่องจากสุนทรภู่มีชีวิตอยู่ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่จึงได้รับสมญานามว่า “กวีสี่แผ่นดิน”

    ประวัติวัดเทพธิดารามวรวิหาร เดิมชื่อ วัดบ้านพระยาไกรสวนหลวง เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดฯ ให้สร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระราชทานแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิลาส กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ พระราชธิดาองค์ใหญ่ใน รัชกาลที่ 3 สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2379 เสร็จในปี พ.ศ. 2382 โดยได้ช่างจากเมืองจีน สังเกตุได้จากการออกแบบที่มีผลงานศิลปะและความเชื่อแบบจีน อย่างหน้าบันของโบสถ์ มองขึ้นไปจะพบหงส์ ที่แสดงถึงสตรีสูงศักดิ์และตุ๊กตาปูนปั้นผู้หญิงอุ้มลูก และอิริยาบถอื่นๆ ตั้งอยู่บริเวณโดยรอบ อีกหนึ่งจุดสำคัญเมื่อมาถึงวัดเทพธิดารามวรวิหาร ต้องเข้าชมรูปปั้นหมู่ภิกษุณีในพระวิหาร หล่อด้วยดีบุก จำนวน ๕๒ องค์ ซึ่งความอเมซิ่งอยู่ตรงที่ ภิกษุณีทั้งหมดจะมีลักษณะท่าทางแตกต่างกัน เป็นของเก่าแก่หาดูได้ยากและมีอยู่แห่งเดียวในโลก ภิกษุณีในพระวิหาร จำนวน ๕๒ องค์“สุนทรภู่” ไม่ใช่ชื่อจริง แต่เป็นนามแฝงที่เกิดจากการนำคำว่า “สุนทร” ในชื่อบรรดาศักดิ์ “ขุนสุนทรโวหาร” ที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มารวมกับชื่อจริงว่า “ภู่” สุนทรภู่มีใจรักรักด้านกาพย์กลอนและเป็นกวีที่มีความชำนาญทางการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นผลมากจากประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีโอกาสได้ซึมซับความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม และศิลปะการแสดงต่าง ๆ ในพระราชวังหลัง สุนทรภู่หมั่นเพิ่มพูนประสบการณ์ในการประพันธ์ด้วยการรับจ้างแต่งเพลงและบทกลอนมากมายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและคารมที่คมคาย สุนทรภู่จึงเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกวี และมีชื่อเสียงมากขึ้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 สุนทรภู่ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น “พระสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2398 ขณะที่อายุ 69 ปี และเนื่องจากสุนทรภู่มีชีวิตอยู่ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่จึงได้รับสมญานามว่า “กวีสี่แผ่นดิน”

    สุนทรภู่เป็นกวีเอกที่มีผลงานอันเป็นที่ยอมรับมากมาย จนได้รับการขนานนามว่าเป็น “เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย” สุนทรภู่มีความชำนาญทางด้านกลอนเป็นพิเศษ และได้ปรับปรุงกลอนโบราณ จนกลายเป็นกลอนที่มีลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์ที่มีความไพเราะด้วยการใช้คำสัมผัสในในกลอนทุกวรรค ทั้งยังนิยมใช้คำง่าย ๆ เพื่อให้ผู้ฟังและผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาได้อย่างชัดเจน กลอนนิทานและกลอนนิราศของสุนทรภู่จึงกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางมาจนถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง แต่ผลงานที่โดดเด่นและเป็นที่รู้จักมากที่สุดของสุนทรภู่คงหนีไม่พ้น “พระอภัยมณี” ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติชีวิต ความรัก และการผจญภัยของพระอภัยมณี รวมทั้งของตัวละครอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระอภัยมณีในพระอภัยมณีสุนทรภู่ได้สร้างเนื้อหาที่แปลกใหม่ โดยนำเรื่องราวจากแหล่งต่าง ๆ มาผสมผสานกันเพื่อสร้างเรื่องราวที่สนุกตื่นเต้น แหล่งที่มาของพระอภัยมณีนั้นมีทั้งนิทานและการเมืองการปกครองของต่างประเทศ วัฒนธรรมของต่างชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งของชาวตะวันตก นิทานไทย และเรื่องราวที่มาจากจินตนาการของสุนทรภู่เอง นอกจากนี้ สุนทรภู่ยังได้สร้างตัวละครที่เป็นเอกลักษณ์และมีความแปลกใหม่ ทำให้นิทานกลอนเรื่องพระอภัยมณีมีความน่าสนใจยิ่งขึ้น โดยเฉพาะตัวละครเด็กที่เก่งกล้า เช่น สุดสาคร ซึ่งเป็นลูกของพระอภัยมณีกับนางเงือก สินสมุทร ซึ่งเป็นลูกของพระอภัยมณีกับนางผีเสื้อสมุทร และม้านิลมังกร ซึ่งเป็นลูกของม้ากับมังกร บทกลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่นี้ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นสุดยอดวรรณคดีไทยประเภทกลอนนิทาน และเรื่องนี้ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศมากมาย และเมื่อปี พ.ศ. 2529 หรือในวาระที่ครบรอบ 200 ปีเกิด สุนทรภู่ได้รับการยกย่องจากยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านวรรณกรรมผลงานของสุนทรภู่สอดแทรกข้อคิดและคติธรรมที่เหมาะสมกับกาลเวลา รวมทั้งสะท้อนถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมาก งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศพระบาท นิราศภูเขาทองและอีกหลาย ๆ เรื่อง โดยนิราศ หมายถึง งานประพันธ์ประเภทหนึ่ง มักมีเนื้อหาในเชิงพรรณนาถึงการเดินทางเป็นหลัก มักจะสอดแทรกความคิด ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางนั้นผลงานของสุนทรภู่เป็นที่นิยมในสังคมไทยอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้จากการนำผลงานของท่านไปดัดแปลงเป็นสื่อต่าง ๆ เช่น ละคร ภาพยนตร์ เพลง รวมถึงหนังสือการ์ตูนและนิทาน

    ผลงานทั้งหมดของสุนทรภู่ (ตามที่มีหลักฐานปรากฏ)
    นิราศ - นิราศเมืองแกลง, นิราศพระบาท, นิราศภูเขาทอง, นิราศสุพรรณ, นิราศวัดเจ้าฟ้า, นิราศอิเหนา, รำพันพิลาป, นิราศพระประธม และ

    นิราศเมืองเพชร
    นิทานกลอน - โคบุตร, พระอภัยมณี, พระไชยสุริยา, ลักษณวงศ์ และสิงหไกรภพ
    สุภาษิต - สวัสดิรักษา, เพลงยาวถวายโอวาท และสุภาษิตสอนหญิง
    บทละคร - อภัยนุราช
    บทเสภา - ขุนช้างขุนแผน และเสภาพระราชพงศาวดาร
    บทเห่กล่อมพระบรรทม - เห่เรื่องพระอภัยมณี, เห่เรื่องโคบุตร, เห่เรื่องจับระบำ และเห่เรื่องกากีสุนทรภู่มีใจรักรักด้านกาพย์กลอนและเป็นกวีที่มีความชำนาญทางการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นผลมากจากประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีโอกาสได้ซึมซับความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม และศิลปะการแสดงต่าง ๆ ในพระราชวังหลัง สุนทรภู่หมั่นเพิ่มพูนประสบการณ์ในการประพันธ์ด้วยการรับจ้างแต่งเพลงและบทกลอนมากมายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและคารมที่คมคาย สุนทรภู่จึงเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกวี และมีชื่อเสียงมากขึ้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 สุนทรภู่ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น “พระสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2398 ขณะที่อายุ 69 ปี และเนื่องจากสุนทรภู่มีชีวิตอยู่ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่จึงได้รับสมญานามว่า “กวีสี่แผ่นดิน”

    วรรณกรรมสี่แผ่นดิน

    สี่แผ่นดิน เป็นนวนิยายของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในช่วงรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 8 สี่แผ่นดินถูกจัดให้เป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน โดยวิทยากร เชียงกูล และคณะ นอกจากนี้ ในสารานุกรมบริตานิการะบุว่า สี่แผ่นดินอาจเป็นนวนิยายไทยที่ขายดีที่สุดตลอดกาล สี่แผ่นดิน แรกเริ่มถูกเขียนเป็นตอน ๆ ลงหนังสือพิมพ์สยามรัฐ รายวันระหว่างปี 2494–95 ติดต่อกันเป็นเวลาปีเศษ ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มขึ้นครั้งแรกในปี 2496 จัดเป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ประเภทบันเทิงคดี ต่อมามีการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ ละครเวทีและละครวิทยุหลายครั้ง เนื้อหาพรรณนาครอบครัวหนึ่งที่อาศัยอยู่ในรัชสมัยของพระมหากษัตริย์ 4 พระองค์ เริ่มจากสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี2453จนถึงการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลในปี 2489 ตัวละครเอก ชื่อ "พลอย" เป็นหญิงในตระกูลขุนนางเก่าที่มีชีวิตอยู่แต่ในรั้ววัง และใกล้ชิดกับราชสำนัก ต่อมาออกมานอกวังแต่งงานกับ "เปรม" หลังการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ค่านิยมแบบเก่าของพลอยถูกกระทบกระเทือน และเกิดความขัดแย้งทางการเมืองในบรรดาบุตรธิดาสามคน ต่อมารัฐบาลออกกฎหมายปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้เป็นแบบตะวันตก ในช่วงสงครามบ้านถูกระเบิดต้องย้ายกลับไปอยู่บ้านเกิด พลอยป่วยหนักเมื่อทราบว่าบุตรชายเสียชีวิต จนเสียชีวิตตามไปพร้อมกับรัชกาลที่ 8 นวนิยายเรื่องนี้ถือว่ามีอิทธิพลในการสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกแก่สถาบันพระมหากษัตริย์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสารถนนหนังสือ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2528 เรื่องลักษณะของตัวละครว่า "แม่พลอยเป็นคนเชยมากนะครับ เป็นคนอยู่ในกรอบ ใจดี ถูกจับคลุมถุงชนแต่งงานก็หลงรักคุณเปรมได้ ตามคติโบราณนั้นไม่เป็นไรหรอก แต่งไปก่อนแล้วรักกันเองทีหลัง แม่พลอยเป็นอย่างนั้นทุกอย่าง ที่นี้คนอ่านคนไทย ปลื้มอกปลื้มใจ เห็นแม่พลอยเป็นคนประเสริฐเลิศลอย ก็เพราะคนไทยก็เป็นคนแบบนั้น ยังไม่ได้ไปถึงไหนเลย คนอ่านส่วนมากก็เป็นระดับแม่พลอย (หัวเราะ) โง่ฉิบหายเลย..จะบอกให้..สี่แผ่นดินถึงได้ดัง (หัวเราะ)" นวนิยายนี้มุ่งสร้างภาพถวิลหาอดีตและสังคมที่เสื่อมลงหลังการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 โดยนางเอกมีชีวิตสวยงามในระบอบเก่า แต่ชีวิตเผชิญความพลัดพรากและความโศกเศร้าหลังจากการปฏิวัติ และปิดเรื่องด้วยนางเอกเสียชีวิตเพราะการสูญเสียพระมหากษัตริย์[1]“สุนทรภู่” ไม่ใช่ชื่อจริง แต่เป็นนามแฝงที่เกิดจากการนำคำว่า “สุนทร” ในชื่อบรรดาศักดิ์ “ขุนสุนทรโวหาร” ที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มารวมกับชื่อจริงว่า “ภู่” สุนทรภู่มีใจรักรักด้านกาพย์กลอนและเป็นกวีที่มีความชำนาญทางการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นผลมากจากประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีโอกาสได้ซึมซับความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม และศิลปะการแสดงต่าง ๆ ในพระราชวังหลัง สุนทรภู่หมั่นเพิ่มพูนประสบการณ์ในการประพันธ์ด้วยการรับจ้างแต่งเพลงและบทกลอนมากมายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและคารมที่คมคาย สุนทรภู่จึงเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกวี และมีชื่อเสียงมากขึ้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 สุนทรภู่ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น “พระสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2398 ขณะที่อายุ 69 ปี และเนื่องจากสุนทรภู่มีชีวิตอยู่ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่จึงได้รับสมญานามว่า “กวีสี่แผ่นดิน”

    แผ่นดินที่ 1 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    พลอยเกิดในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บิดาของ พลอย ชื่อ พระยาพิพิธ ฯ มารดา ชื่อ แช่ม เป็นเอกภรรยาของพระยาพิพิธ ฯ แต่ไม่ใช่ฐานะคุณหญิง เพราะคุณหญิงท่าน ชื่อ เอื้อม เป็นคนอัมพวา ได้กลับไปอยู่บ้านเดิมของท่านเสียตั้งแต่ก่อนพลอยเกิด เหลืออยู่แต่บุตรของคุณหญิง 3 คน อยู่ในบ้าน คือ คุณอุ่น พี่สาวใหญ่ อายุ 19 ปี คุณชิดพี่ชายคนรอง อายุ 16ปี คุณเชย พี่สาวคนเล็กแต่แก่กว่าพลอย 2 ปี พลอยมีพี่ชายร่วมมารดาหนึ่งคน ชื่อ เพิ่ม อายุ 12 ปี และมีน้องสาวคนละมารดาซึ่งเกิดจากแวว ภรรยาคนรองจาก แม่แช่ม ชื่อ หวาน อายุ 8 ปี ในบรรดาพี่น้องร่วมบิดา พลอยจะคุ้นเคยกับคุณเชยเป็นพิเศษ เพราะอายุรุ่นราวคราวเดียวกัน ส่วนคุณอุ่นพี่สาวใหญ่นั้น พลอยเห็นว่าเป็นผู้ที่น่าเกรงขาม เพราะเธออยู่บนตึกร่วมกับเจ้าคุณพ่อ ซึ่งเจ้าคุณพ่อก็ไว้วางใจว่าเป็นลูกสาวใหญ่ จึงให้ถือกุญแจแต่ผู้เดียว และจัดการกับการจับจ่ายใช้สอยทุกอย่างภายในบ้าน ส่วนคุณชิดและพ่อเพิ่ม พลอยเกือบจะไม่รู้จักเสียเลยเพราะคุณชิดไม่ค่อยอยู่บ้าน และพ่อเพิ่มนั้นดูจะสวามิภักดิ์คุณชิดมากกว่าพี่น้องคนอื่น ซึ่งพ่อเพิ่มต้องแอบไปมาหาสู่มิให้แม่แช่มเห็นเพราะถ้าแม่แช่มรู้ทีไรเป็นเฆี่ยนทุกที ส่วนหวานน้องคนละแม่ยังเด็กเกินไปที่พลอยจะให้ความสนใจเจ้าคุณพ่อได้ปลูกเรือนหลังหนึ่งให้แม่แช่มกับลูก ๆ อยู่ใกล้กับตัวตึกในบริเวณบ้าน มีบ่าวซึ่งแม่แช่มช่วยมาไว้ใช้ทำงานบ้านต่าง ๆ ชื่อ นางพิศตั้งแต่พลอยจำความได้จนถึงอายุ 10 ขวบ พลอยมีความรู้สึกว่า แม่และคุณอุ่นมีเรื่องตึง ๆ กันอยู่เสมอ ซึ่งก่อนที่แม่พลอยจะออกจากบ้าน พลอยสังเกตเห็นว่ามีความตึงเครียดระหว่างแม่และคุณอุ่นมากกว่าปกติ จนกระทั่งคืนหนึ่งแม่ได้เข้ามาปลุกพลอยแล้วบอกว่าจะเอาพลอยไปถวายตัวกับเสด็จ ส่วนพ่อเพิ่มเจ้าคุณพ่อไม่ยอมให้เอาไป คืนนั้นแม่เก็บของอยู่กับนางพิศทั้งคืน พอรุ่งสางแม่ให้นางพิศขนของไปไว้ที่ศาลาท่าน้ำ และให้พลอยไปกราบลาเจ้าคุณพ่อ เมื่อพลอยลาเจ้าคุณพ่อเสร็จแล้วก็เดินมาที่ศาลาท่าน้ำ เพื่อลงเรือโดยมีพ่อเพิ่มนั่งร้องไห้อยู่ที่ศาลาท่าน้ำ พอเรือแล่นออกไป พลอยก็รู้สึกตื่นตาตื่นใจกับสิ่งต่าง ๆ ที่เห็น จนกระทั่งมาถึงที่ท่าพระ แม่แช่มก็พาพลอยขึ้นจากเรือแล้วเดินเลาะกำแพงวังไปสักครู่หนึ่งก็เลี้ยวเข้าประตูชั้นนอก พลอยนั้นตื่นตาตื่นใจยิ่งขึ้น เพราะภายในบริเวณวังนั้นเต็มไปด้วยตึกใหญ่โตมหึมา ผู้คนยักเยียดเบียดเสียดกันตลอด แล้วเดินเลาะกำแพงวังไปจนของที่วางขายก็มีมากมาย พอมาถึงกำแพงสูงทึบอีกชั้นหนึ่ง จะมีประตูบานใหญ่เปิดกว้างอยู่ คนที่เดินเข้าออกประตูล้วนเป็นผู้หญิงทั้งสิ้น แม่แช่มเดินข้ามธรณีประตูเข้าไปข้างในแล้ว แต่พลอยเดินข้ามธรณีประตูด้วยความพะว้าพะวัง จึงทำให้เท้าที่ก้าวออกไปยืนอยู่บนธรณีประตู พลอยตกใจมากวิ่งร้องไห้ไปหาแม่แช่ม แม่แช่มจึงพาพลอยไปกราบที่ธรณีประตูเสียก็หมดเรื่องพลอยได้รู้มาทีหลังว่า หญิงที่ทำหน้าที่เฝ้าประตูวังและดูแลความสงบเรียบร้อยในวังนั้น ชาววังทั่วไปเรียกกันว่า "โขลน"

    แม่แช่มพาพลอยเดินไปเรื่อย ๆ ผ่านที่ต่าง ๆ มากมาย ในที่สุดก็มาถึงตำหนักของเสด็จ แม่จะพาพลอยไปหาคุณสายก่อน ซึ่งเป็นข้าหลวงก้นตำหนักของเสด็จคุณสายเป็นข้าหลวงตั้งแต่เสด็จท่านยังทรงพระเยาว์ เสด็จจึงมอบให้คุณสายช่วยดูแลกิจการส่วนพระองค์ทุกอย่าง และดูแลว่ากล่าวข้าหลวงทุกคนในตำหนัก เมื่อพลอยได้พบกับคุณสายแล้ว พลอยก็รู้สึกว่าคุณสายเป็นคนใจดีมาก ไม่ถือตัวว่าเป็นคนโปรดของเสด็จ และยังคอยช่วยเหลือข้าหลวงตำหนักเดียวกันเสมอ คุณสายหาข้าวหาปลาให้แม่แช่มกับพลอยกิน แล้วคุณสายก็จัดการเย็บกระทงดอกไม้เพื่อให้พลอยนำไปถวายตัวกับเสด็จ เมื่อพลอยถวายตัวกับเสด็จเสร็จแล้ว คุณสายก็แนะนำให้พลอยรู้จักกับช้อย ซึ่งเป็นหลานของคุณสาย ช้อยอายุรุ่นราวคราวเดียวกันกับพลอย ช้อยเป็นลูกของพี่ชายของคุณสาย ชื่อ นพ มียศเป็นคุณหลวง แม่ของช้อย ชื่อ ชั้น ช้อยมีพี่ชายอยู่หนึ่งคน ชื่อ เนื่อง ช้อยนั้นเป็นเด็กที่ซุกซนและมีเพื่อนฝูงมาก พลอยจึงเข้ากับช้อยได้ดีทีเดียว พลอยอยู่ในวังได้หลายวันแล้ว ก็ได้รับความรู้ใหม่ ๆ ได้เห็นของใหม่ ๆ อย่างไม่มีที่สิ้นสุด

    คุณสายให้พลอยเรียนหนังสือพร้อมกับช้อย ชื่อ มูลบทบรรพกิจ และคุณสายก็ได้สอนทำสิ่งต่าง ๆ ให้เสมอ เช่น การเจี่ยนหมากจีบพลูยาว ใส่เชี่ยนหมากเสวยของเสด็จ ตลอดจนดูแลเครื่องทรงต่าง ๆ ตอนกลางคืน คุณสายให้พลอยไปถวายงานพัดเสด็จตามปกติตอนกลางวันเป็นเวลาว่าง นอกจากคุณสายจะมีอะไรมาให้ทำเป็นพิเศษหรืออารมณ์ไม่ดี ซึ่งตอนกลางวันเป็นเวลาที่พลอยจะได้ติดตามช้อยออกไปเที่ยวนอกตำหนักไปหาเพื่อนฝูงหรือวิ่งเล่น ช้อยช่วยทำให้พลอยคลายเหงาและช่วยชักนำสิ่งที่น่าสนใจต่าง ๆ มาให้พบเห็นหรือได้รู้จักอยู่เสมอ ในที่สุดวันที่พลอยเฝ้าคอยด้วยความประหวั่นใจก็มาถึง เมื่อแม่แช่มจะออกจากวังและได้ทูลลาเสด็จแล้ว พลอยเสียใจอย่างมาก แต่เสด็จก็ทรงเมตตาพลอย ฝากให้คุณสายช่วยดูแลพลอย นอกจากนี้ยังมีช้อยที่คอยอยู่เป็นเพื่อนพลอย ทำให้พลอยรู้สึกดีขึ้น ในวันหนึ่งช้อยได้ชวนพลอยออกไปหาพ่อและพี่ชายของช้อย ซึ่งจะมาเยี่ยมทุกวันพระกลางเดือน ทำให้พลอยรู้สึกรักและผูกพันกับครอบครัวของช้อยไปโดยไม่รู้ตัว วันหนึ่งแม่แช่มได้มาเยี่ยมพลอยถึงในวังพร้อมกับของฝากมากมาย แม่บอกว่าแม่กำลังทำการค้าขายอยู่ที่ฉะเชิงเทรากับญาติห่าง ๆ ชื่อ ฉิม และต่อมาพลอย ก็รู้มาว่า แม่แช่มได้แต่งงานกับพ่อฉิมแล้ว ซึ่งแม่ก็ได้ตั้งท้องแล้ว คุณสายได้พาพลอยไปหาเจ้าคุณพ่อ เพื่อคุยเรื่องงานโกนจุกของพลอยที่เสด็จทรงเมตตาโกนจุกประทานให้ ซึ่งเจ้าคุณพ่อก็ไม่ได้ขัดข้องงานโกนจุกนั้นจะจัดขึ้นที่บ้านของช้อย และทั้งพลอยและช้อยก็ได้โกนจุกพร้อมกัน เจ้าคุณพ่อของพลอยก็มาร่วมงานนี้ด้วย งานโกนจุกนั้นผ่านไปได้ด้วยดี

    เมื่อคุณสาย พลอย และช้อย เดินทางกลับจากบ้านช้อยมาถึงตำหนักของเสด็จ เสด็จก็มีรับสั่งให้คุณสายขึ้นไปเฝ้าบนตำหนักทันที เสด็จจึงบอกเรื่องที่แม่แช่มตายแล้วที่ฉะเชิงเทรา และมอบภาระให้คุณสายเป็นผู้บอกพลอยให้ทราบ ห้าปีให้หลังจากวันที่แม่แช่มตาย พลอยก็ยังอยู่ที่ตำหนักของเสด็จ พลอยอายุได้ 16 ปีเศษแล้ว นับว่าเป็นสาวเต็มตัว และถ้าใครเห็นก็ต้องชมว่า สวยเกินที่คาดไว้ ส่วนช้อยเมื่อเป็นสาวแล้วก็ไม่ได้ทำให้นิสัยของช้อยเปลี่ยนไปได้เลย ช้อยยังคงเป็นคนสนุกสนานร่าเริง และมีความคิดเป็นของตนเองอย่างแต่ก่อน ซึ่งทั้งพลอยและช้อยได้สละความเป็นเด็กย่างเข้าสู่ความเป็นผู้ใหญ่อย่างสมบูรณ์

    การที่พลอยสนิทสนมกับช้อย ทำให้พลอยนั้นสนิทกับครอบครัวของช้อยด้วย พี่เนื่องซึ่งเป็นพี่ชายของช้อยได้หลงรักพลอยเข้า จึงทำให้พี่เนื่องมักจะตามพ่อนพมาเยี่ยมช้อยกับพลอย เมื่อพี่เนื่องเรียนทหารจบ พี่เนื่องจึงเปิดเผยความรู้สึกที่มีกับพลอยทำให้พลอยเขินอายไม่กล้าที่จะเจอหน้าพี่เนื่องอีก พลอยหลบหน้าพี่เนื่องอยู่พักใหญ่ จนกระทั่งพี่เนื่องถูกส่งตัวไปรับราชการที่นครสวรรค์ ทำให้พลอยยอมออกมาพบพี่เนื่องเพื่อร่ำลา พลอยจึงเตรียมผ้าแพรเพลาะที่พลอยเคยห่มนอนให้พี่เนื่อง ซึ่งพี่เนื่องได้ให้สัญญากับพลอยว่าจะกลับมาแต่งงานกับพลอย นอกจากครอบครัวของช้อยแล้ว ญาติของพลอยที่ยังติดต่อกับพลอยอยู่ก็คือพ่อเพิ่ม ซึ่งตอนนี้ได้รับราชการอยู่ที่กรมพระคลัง หอรัษฎากรพิพัฒน์ และคุณเชยซึ่งหลังจากที่พี่เนื่องไปนครสวรรค์ได้ไม่กี่วัน คุณเชยก็แวะมาเยี่ยมพลอยที่วัง ซึ่งขณะนั้นในพระบรมมหาราชวังก็จัดให้มีงานขึ้นที่สวนศิวาลัยพอดี ซึ่งงานนี้ได้จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ เพราะพระเจ้าอยู่หัวเสด็จกลับจากประพาสยุโรป การจัดงานจึงเป็นไปตามแบบฝรั่ง พลอยจึงพาคุณเชยไปเที่ยวงานที่สวนศิวาลัย และในงานนี้เองทำให้พลอยได้พบกับ คุณเปรม ซึ่งคุณเปรมก็แอบมองพลอยตลอดเวลาจนทำให้พลอยรู้สึกไม่พอใจ หลังจากวันนั้นคุณเปรมก็ได้สืบเรื่องราวของพลอย จนรู้ว่าพลอยเป็นลูกสาวของพระยาพิพิธฯ มีพี่ชายก็คือ พ่อเพิ่ม

    คุณเปรมได้ทำความรู้จักกับพ่อเพิ่มจนกลายเป็นเพื่อนกัน ซึ่งพ่อเพิ่มพยายามจะแนะนำคุณเปรมให้กับพลอย แต่พลอยปฏิเสธและไม่สนใจ จนกระทั่งวันหนึ่ง พลอยได้รับข่าวของพี่เนื่องมาว่า พี่เนื่องกำลังจะแต่งงานกับสมบุญ ลูกสาวแม่ค้าขายข้าวแกง พลอยรู้สึกเสียใจมาก แต่ก็สามารถทำใจได้ คุณเปรมได้พ่อเพิ่มช่วยเป็นพ่อสื่อให้ แต่พลอยก็ยังไม่สนใจคุณเปรม คุณเปรมจึงเข้าหาทางผู้ใหญ่ โดยให้พ่อเพิ่มพาไปเที่ยวที่บ้าน จึงได้พบกับพระยาพิพิธฯเจ้าคุณพ่อของพลอย และได้พูดคุยกันอย่างถูกคอ หลังจากนั้นไม่นานคุณอานุ้ยซึ่งเป็นญาติผู้ใหญ่ของคุณเปรมก็ได้มาทาบทามสู่ขอพลอยจากเจ้าคุณพ่อ ซึ่งท่านก็ไม่ได้ปฏิเสธคุณเปรม และนำเรื่องมาปรึกษากับคุณสายให้คุณสายไปทูลถามเสด็จ เสด็จก็ทรงอนุญาต แต่พลอยนั้นกลับปฏิเสธการแต่งงาน เพราะไม่รู้ว่าควรจะทำอย่างไรดี พลอยจึงนำเรื่องนี้ไปปรึกษาช้อย ซึ่งช้อยนั้นอยากให้พลอยแต่งงานตามที่ผู้ใหญ่ต้องการ เพราะช้อยเห็นว่าคุณเปรมนั้นรักพลอยจริง ๆ และอีกอย่างก็เพื่อให้พี่เนื่องรู้ว่า พลอยก็ไม่ใช่คนสิ้นไร้ไม้ตอกด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ จึงทำให้พลอยตัดสินใจยอมแต่งงานกับคุณเปรมตามที่ผู้ใหญ่ต้องการ

    เมื่อพลอยแต่งงานกับคุณเปรมแล้ว ก็ได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านคลองพ่อยมซึ่ง เป็นบ้านของคุณเปรม วันหนึ่งคุณเปรมพาพลอยไปพบกับตาอ้น ซึ่งเป็นลูกชายของคุณเปรมที่เกิดกับบ่าวในบ้านพลอยไม่ได้คิดโกรธคุณเปรมเลย และยังกลับนึกรักและเอ็นดูตาอ้น พลอยจึงขอคุณเปรมรับตาอ้นเป็นลูกของตน พลอยได้เลี้ยงดูตาอ้นเสมือนลูกของพลอยคนหนึ่ง หลังจากนั้นไม่นานพลอยก็ตั้งท้องตาอั้น ซึ่งเป็นผู้ชายและเป็นลูกคนแรกของพลอย แต่หลังจากพลอยคลอดตาอั้นได้ไม่นาน เจ้าคุณพ่อก็ตาย เมื่อสิ้นเจ้าคุณพ่อแล้ว คุณเชยก็ทนอยู่กับคุณอุ่นที่บ้านคลองบางหลวงไม่ได้ จึงตัดสินใจหนีตามหลวงโอสถไป ทำให้พลอยรู้สึกไม่สบายใจเลย เพราะเป็นห่วงคุณเชยเมื่อเสร็จงานศพของเจ้าคุณพ่อแล้ว พลอยจึงพาตาอั้นเข้าวังเพื่อไปถวายตัวต่อเสด็จ และขอประทานชื่อ เสด็จนั้นทรงตั้งชื่อให้ตาอั้นว่า ประพันธ์ พลอยจึงตั้งชื่อให้ตาอ้นว่า ประพนธ์

    พอตาอั้นอายุได้ขวบกว่า ๆ พลอยก็ตั้งท้องลูกคนที่สอง แต่ช่วงที่พลอยตั้งท้องลูกคนที่สองอยู่นั้น พระเจ้าอยู่หัวก็ประชวรและเสด็จสวรรคตในเวลาต่อมาสุนทรภู่มีใจรักรักด้านกาพย์กลอนและเป็นกวีที่มีความชำนาญทางการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นผลมากจากประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีโอกาสได้ซึมซับความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม และศิลปะการแสดงต่าง ๆ ในพระราชวังหลัง สุนทรภู่หมั่นเพิ่มพูนประสบการณ์ในการประพันธ์ด้วยการรับจ้างแต่งเพลงและบทกลอนมากมายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและคารมที่คมคาย สุนทรภู่จึงเริ่มเป็นที่รู้จักในวงกวี และมีชื่อเสียงมากขึ้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 สุนทรภู่ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น “พระสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2398 ขณะที่อายุ 69 ปี และเนื่องจากสุนทรภู่มีชีวิตอยู่ในรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่จึงได้รับสมญานามว่า “กวีสี่แผ่นดิน”

    แผ่นดินที่ 2 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

    แผ่นดินที่ 2: รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ห้าปีต่อมา เมื่อตาอ้นอายุได้ 7 ขวบ ตาอั้นอายุได้ 5 ขวบ และตาอ๊อดลูกชายคนที่สองของพลอยอายุได้ 3 ขวบ พลอยก็คลอดลูกคนที่สาม เป็นผู้หญิงและตั้งชื่อว่า ประไพ ในช่วงนั้นก็มีเหตุการสำคัญคือสงครามโลกครั้งที่ 1 แต่ตัวพลอยเองก็ไม่ได้รู้เรื่องอะไรมาก นอกจากที่ว่าเป็นเรื่อง “ฝรั่งรบกัน” ที่ทำให้ข้าวของแพง หลังจากนั้นวันหนึ่ง คุณอุ่นซึ่งไม่ได้ติดต่อกันตั้งแต่พ่อของพลอยเสียก็มีขอความช่วยเหลือ พลอยจึงรับปากช่วยเหลืออีกทั้งเสนอให้คุณอุ่นย้ายมาอยู่ด้วยกันทำให้คุณอุ่นซึ้งในน้ำใจและความไม่อาฆาตพยาบาทของพลอยมากจนถึงกับร้องไห้ สองปีต่อมาคุณเปรมก็ส่งอั้นและอ๊อดไปเรียนนอก ส่วนอ้นอยากเรียนทหารจึงไปเรียนโรงเรียนทหาร จากนั้นพลอยก็ได้แต่นั่งคอยที่จะรับจดหมายจากลูก ๆ ในช่วงรัชกาลใหม่นี้พลอยก็ได้สังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ อย่าง คุณเปรมนั้นแต่งตัวพิธีพิถันกว่าที่เคยในรัชกาลก่อน และมาวันหนึ่งก็ได้มาบอกให้พลอยไว้ผมยาว เพราะในหลวงท่านโปรด และต่อมาก็บอกให้แม่พลอยนุ่งผ้าซิ่นแทนผ้าโจงกระเบน ทำให้พลอยไม่กล้าออกจากบ้านอยู่นาน จากนั้นไม่กี่ปี ตาอั้นก็เรียนจบ และกำลังจะกลับมาบ้าน ส่วนตาอ้นนั้นออกเป็นทหารต้องไปประจำหัวเมืองต่างจังหวัด แต่พลอยก็ต้องตกใจเมื่อตาอั้นกลับมาจริง ๆ พร้อมกันภรรยาแหม่มชื่อ ลูซิลล์ หลังจากนั้นในหลวงก็ประชวรอยู่ไม่นาน และเสด็จสวรรคตในที่สุด

    แผ่นดินที่ 3 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

    แผ่นดินที่ 3: รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากรัชกาลที่ 6 เสด็จสวรรคต คุณเปรมก็ล้มป่วยอยู่หลายวัน และความสนใจต่อสิ่งต่าง ๆ ความกระหายที่เป็นแรงผลักดันของชีวิตก็ลดน้อยลง จนพลอยต้องเปลี่ยนมาเป็นฝ่ายชักชวนให้คุณเปรมสนใจสิ่งต่าง ๆ ผ่านไปไม่นาน ตาอ๊อดก็เรียนจบกลับมาเมืองไทย และไม่นานคุณเปรมก็ออกจากราชการ หลังจากนั้นก็เป็นคนหงุดหงิดง่าย สิ่งที่คุณเปรมพอจะสนใจอยู่อย่างเดียวก็คือการขี่ม้า และมาวันหนึ่งคุณเปรมก็ตกม้าและเสียชีวิตลง ตั้งแต่ที่ตาอั้นกลับมาก็มีความคิดอย่างหนึ่งที่ทำให้แม่พลอยตกใจ ซึ่งก็คือความคิดเกี่ยวกับบ้านเมืองของตาอั้น ซึ่งก็คือความคิดเสรีนิยมและเกี่ยวกับการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ได้ไปเรียนรู้ตอนไปเรียนเมืองนอก ในช่วงนั้นผู้คนก็ต่างพูดกันเรื่องเกี่ยวกับคำทำนายที่ว่าพระมหากษัตริย์จะสิ้นพระราชอำนาจ หลังจากนั้นไม่นาน ประเทศไทยก็ได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย พอเปลี่ยนการปกครองได้สองเดือนเศษ ตาอ้นก็กลับมาเยี่ยมบ้าน และก็มีเรื่องให้พลอยกลุ้มใจ เพราะตาอ้นนั้นมีความเห็นตรงข้ามกับการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองอย่างรุนแรง และคิดว่าตาอั้นเป็นพวกกบฏ ไม่มีความจงรักภักดี จนถึงกับทำให้สองพี่น้องทะเลาะกันใหญ่โตและไม่คุยกัน จากนั้นไม่นาน ตาอ้นก็ไปรบร่วมกับฝ่ายที่ต่อต้านคณะราษฎร และถูกจับ เป็นนักโทษประหาร และรัชกาลที่ 7 ก็สละราชสมบัติ

    แผ่นดินที่ 4: รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล

    ผู้เขียนแต่งให้แม่พลอยเสียชีวิตพร้อมกับการสวรรคตอย่างกระทันหันของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ต้องการสื่อว่าพระมหากษัตริย์เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของแม่พลอย ประไพหมั้นกับคุณเสวีซึ่งเป็นเพื่อนของตาอั้น และแต่งงานกัน หลังจากนั้นตาอ้นก็ถูกส่งตัวไปอยู่เกาะตะรุเตา ตาอ๊อดก็ถูกกดดันโดยพี่น้องทำให้ต้องออกไปทำงานรับราชการ แต่ก็ทำอยู่ได้ไม่นานแล้วก็ลาออก แล้วจึงตัดสินใจไปทำงานที่เหมืองกับเพื่อนที่ปักษ์ใต้ จากนั้นไม่นาน ก็เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง แต่พลอยก็ยังไม่รู้สึกว่าเป็นเรื่องใกล้ตัว จนกระทั่งวันหนึ่งที่ทหารญี่ปุ่นเริ่มเข้ามาในเมืองไทย เมืองไทยจึงเจรจาและตกลงเป็นฝ่ายญี่ปุ่น อยู่มาวันหนึ่ง รัฐบาลก็ได้ออกกฎให้ทุกคนใส่หมวกเวลาออกจากบ้าน และห้ามกินหมากพลู รวมทั้งให้เริ่มมีการกล่าวคำว่า “สวัสดี” เป็นคำทักทาย และใช้คำว่า “ฉัน ท่าน จ๊ะ จ๋า” เมื่อพูดกับคนอื่น โดยบอกว่าเป็นการมี “วัฒนธรรม” เพื่อให้ชาติเจริญ ต่อมาไม่นาน พลอยก็ได้รู้ว่าตาอั้นได้หย่ากับลูซิลส์แล้วและกำลังไปมีเมียแล้วชื่อสมใจ และมีลูกสองคนคือแอ๊ดและแอ๊วโดยที่ไม่กล้าบอกแม่พลอยเพราะกลัวแม่จะไม่ถูกใจ แม่พลอยจึงดีใจและรีบไปรับหลานและลูกสะใภ้มาอยู่ที่บ้าน แต่พอมาอยู่บ้านก็อยู่อย่างสงบได้เพียงไม่นานก็เริ่มมีเครื่องบินมาทิ้งระเบิด ทำใหบ้านของแม่พลอยต้องขุดหลุมหลบภัยและต้องคอยระวังตื่นมากลางดึกและไปหลบในหลุมเมื่อได้ยินเสียงเครื่องบิน จนมาครั้งหนึ่งที่พลอยหลบอยู่ในหลุมและรู้สึกถึงความสั้นสะเทือนรุนแรงมาก เมื่อพอพลอยออกมาจากหลุมแล้วก็ได้เห็นว่าบ้านของพลอยเองได้โดนระเบิดเข้าเสียแล้ว จากนั้นพลอยจึงต้องย้ายไปอยู่ที่บ้านคลองบางหลวงซึ่งเป็นบ้านเกิด พอย้ายบ้านมาได้ไม่นานพลอยก็ได้ข่าวว่าตาอ๊อดเจ็บหนักด้วยโรคมาลาเรีย ตาอ้นที่เพิ่งได้รับการปล่อยตัวจึงไปอยู่ดูแลตาอ๊อดและยังไม่ได้กลับบ้าน จากนั้นไม่นานตาอ้นก็กลับมาบ้านพร้อมกลับข่าวร้ายว่าตาอ๊อดได้ตายเสียแล้ว อ้นจึงตัดสินใจบวชให้แก่อ๊อด หลังจากนั้นพลอยก็เจ็บอยู่นานหลายเดือน จนกระทั่ง รัชกาลที่ 8 สวรรคตอย่างกะทันหัน เมื่อได้ทราบข่าวการสวรรคตพลอยก็สิ้นใจไปด้วย

    ประวัติศาสตร์ผ่านประติมากรรม

    อยู่ที่ถนนราชดำเนินกลาง สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สัญลักษณ์แห่งประชาธิปไตยของคนไทย สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นที่ระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อสร้างและออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีและสิทธิเดช แสงหิรัญ เป็นศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์ อนุสาวรีย์ฯ แห่งนี้ ยังเปรียบเสมือนศูนย์กลาง ความเจริญ โดยถนนสายต่าง ๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ทั้งยังโดดเด่นสะดุดตาด้วยรูปหล่อลอยตัว ประกอบด้วยรูปเล่มรัฐธรรมนูญในสมุดไทย ประดิษฐาน บนพานแว่นฟ้า ที่สร้างด้วยทองแดง ขนาดความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน ตั้งบนฐานรูปทรงกลมด้านบนโค้งกลม ลานอนุสาวรีย์ยกสูงมีบันไดโดยรอบ รอบนอกลานอนุสาวรีย์มีครีบทรงแบนอยู่ 4 ทิศ ที่โคนครีบมีภาพแกะสลักลายปั้นนูน และมีรั้วเตี้ยกั้นรอบลานอนุสาวรีย์ ซึ่งรั้วนี้ใช้ปืนใหญ่โบราณจำนวน 75 กระบอก ฝังดินโผล่ท้ายกระบอกขึ้นมา เป็นเสา คล้องโซ่เชื่อมต่อกันครีบ 4 ด้าน สูงจากแท่นพื้น 24 เมตร มีรัศมียาว 24 เมตร หมายถึง วันที่ 24 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง สำหรับพานรัฐธรรมนูญ บนยอดป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ สูง 3 เมตร หมายถึง เดือน 3 หรือเดือนมิถุนายน (ขณะนั้นนับเมษายนเป็นเดือนแรกของปี) ตรงกับเดือนที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และยังหมายถึง อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ภายใต้รัฐธรรมนูญ (นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ) ปืนใหญ่จำนวน 75 กระบอก (ปากกระบอกปืนฝังลงดิน) รอบฐานของอนุสาวรีย์ที่มีโซ่เหล็กร้อยไว้ หมายถึงปีที่ทำการเปลี่ยนแปลง การปกครอง (เลข 75 เป็นเลขท้ายสองหลักของปี พ.ศ. 2475) ส่วนโซ่ที่ร้อยไว้ด้วยกันหมายถึงความสามัคคี พร้อมเพรียงของคณะปฏิวัติ พระขรรค์ 6 เล่ม ที่รายล้อมรอบป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ หมายถึง หลัก 6 ประการของคณะราษฎร นอกเหนือจากนี้ บริเวณรอบ ๆ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ยังมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ นั่งชิลริมร้านกาแฟ ตลอดจนเดินเล่นทอดน่อง เพื่อซึมซับกับประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของอนุสาวรีย์แห่งความทรงจำ ที่ตั้ง : ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ

    หอประติมากรรมต้นแบบ

    หอประติมากรรมต้นแบบ ตั้งอยู่ที่ ถนนหน้าพระลาน, แขวง พระบรมมหาราชวัง เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 แขวง พระบรมมหาราชวัง เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 ประเทศไทย, ใกล้สถานที่นี้อยู่: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์ (73 เมตร), พิพิธภัณฑ์หอศิลป์พีระศรี (84 เมตร), พิพิธภัณฑ์ผ้าในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (102 เมตร), Wat Phra Kaeo Museum (205 ม.), พิพิธภัณฑ์วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (287 ม.).


    อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สัญลักษณ์แห่งประชาธิปไตยของคนไทย สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นที่ระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อสร้างและออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีและสิทธิเดช แสงหิรัญ เป็นศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์ อนุสาวรีย์ฯ แห่งนี้ ยังเปรียบเสมือนศูนย์กลาง ความเจริญ โดยถนนสายต่าง ๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ทั้งยังโดดเด่นสะดุดตาด้วยรูปหล่อลอยตัว ประกอบด้วยรูปเล่มรัฐธรรมนูญในสมุดไทย ประดิษฐาน บนพานแว่นฟ้า ที่สร้างด้วยทองแดง ขนาดความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน ตั้งบนฐานรูปทรงกลมด้านบนโค้งกลม ลานอนุสาวรีย์ยกสูงมีบันไดโดยรอบ รอบนอกลานอนุสาวรีย์มีครีบทรงแบนอยู่ 4 ทิศ ที่โคนครีบมีภาพแกะสลักลายปั้นนูน และมีรั้วเตี้ยกั้นรอบลานอนุสาวรีย์ ซึ่งรั้วนี้ใช้ปืนใหญ่โบราณจำนวน 75 กระบอก ฝังดินโผล่ท้ายกระบอกขึ้นมา เป็นเสา คล้องโซ่เชื่อมต่อกันครีบ 4 ด้าน สูงจากแท่นพื้น 24 เมตร มีรัศมียาว 24 เมตร หมายถึง วันที่ 24 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง


    สำหรับพานรัฐธรรมนูญ บนยอดป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ สูง 3 เมตร หมายถึง เดือน 3 หรือเดือนมิถุนายน (ขณะนั้นนับเมษายนเป็นเดือนแรกของปี) ตรงกับเดือนที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และยังหมายถึง อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ภายใต้รัฐธรรมนูญ (นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ) ปืนใหญ่จำนวน 75 กระบอก (ปากกระบอกปืนฝังลงดิน) รอบฐานของอนุสาวรีย์ที่มีโซ่เหล็กร้อยไว้ หมายถึงปีที่ทำการเปลี่ยนแปลง การปกครอง (เลข 75 เป็นเลขท้ายสองหลักของปี พ.ศ. 2475) ส่วนโซ่ที่ร้อยไว้ด้วยกันหมายถึงความสามัคคี พร้อมเพรียงของคณะปฏิวัติ พระขรรค์ 6 เล่ม ที่รายล้อมรอบป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ หมายถึง หลัก 6 ประการของคณะราษฎร นอกเหนือจากนี้ บริเวณรอบ ๆ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ยังมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ นั่งชิลริมร้านกาแฟ ตลอดจนเดินเล่นทอดน่อง เพื่อซึมซับกับประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของอนุสาวรีย์แห่งความทรงจำ ที่ตั้ง : ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ

    เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2530 โรงปั้นหล่อเดิมบางส่วนได้ใช้เป็นที่ปฏิบัติงานอื่นของกรมศิลปากรอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมาเมื่อ นายนิคม มูสิกะคามะ อธิบดีกรมศิลปากร (ในขณะนั้น) ได้จัดสรรงบประมาณให้ทำโครงการ "คณะทำงานโครงการหอศิลปต้นแบบศิลปกรรมไทย" เพื่อปรับปรุงอาคาร ดำเนินงานซ่อมต้นแบบรูปปั้น เพื่อจัดแสดงนิทรรศการพร้อมทั้งตั้งชื่ออาคารนี้ว่า หอประติมากรรมต้นแบบ (Hall of Sculpture) เพื่อเป็นแหล่งเก็บข้อมูล แหล่งท่องเที่ยวและแหล่งศึกษาค้นคว้างานด้านประติมากรรมและศิลปกรรมแก่ประชาชนผู้สนใจ

    ปัจจุบัน หอประติมากรรมต้นแบบ อยู่ในความดูแลของ สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร จัดแสดงผลงานปั้นหล่อประติมากรรม ของศิลปินชั้นครูซึ่งเป็นข้าราชการกรมศิลปากร โดยเฉพาะผลงานของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี อดีตนายช่างพิเศษ ผู้บุกเบิกและวางรากฐานการศึกษาด้านศิลปะร่วมสมัยของไทย รวมทั้งผลงานของศิลปินซึ่งเป็นลูกศิษย์เอกของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี จัดแสดงต้นแบบ พระบรมรูป พระรูป พระพุทธรูปสำคัญ และรูปปั้นอื่นๆ อาทิ ต้นแบบรูปปั้นพระพิฆเณศวร ต้นแบบพระพุทธรูปปางลีลา ต้นแบบพระพุทธรูปพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ต้นแบบรูปปั้นท้าวสุรนารี

    ศิลปะ วรรณกรรม การแสดง
    สมัยรัตนโกสินทร์

    คลิกหัวข้อที่สนใจรับชมได้ที่ด้านล่างนี้

    บทละครเรื่องรามเกียรติ์
    พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๑

    อยู่ที่ถนนราชดำเนินกลาง สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สัญลักษณ์แห่งประชาธิปไตยของคนไทย สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นที่ระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อสร้างและออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีและสิทธิเดช แสงหิรัญ เป็นศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์ อนุสาวรีย์ฯ แห่งนี้ ยังเปรียบเสมือนศูนย์กลาง ความเจริญ โดยถนนสายต่าง ๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ทั้งยังโดดเด่นสะดุดตาด้วยรูปหล่อลอยตัว ประกอบด้วยรูปเล่มรัฐธรรมนูญในสมุดไทย ประดิษฐาน บนพานแว่นฟ้า ที่สร้างด้วยทองแดง ขนาดความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน ตั้งบนฐานรูปทรงกลมด้านบนโค้งกลม ลานอนุสาวรีย์ยกสูงมีบันไดโดยรอบ รอบนอกลานอนุสาวรีย์มีครีบทรงแบนอยู่ 4 ทิศ ที่โคนครีบมีภาพแกะสลักลายปั้นนูน และมีรั้วเตี้ยกั้นรอบลานอนุสาวรีย์ ซึ่งรั้วนี้ใช้ปืนใหญ่โบราณจำนวน 75 กระบอก ฝังดินโผล่ท้ายกระบอกขึ้นมา เป็นเสา คล้องโซ่เชื่อมต่อกันครีบ 4 ด้าน สูงจากแท่นพื้น 24 เมตร มีรัศมียาว 24 เมตร หมายถึง วันที่ 24 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง สำหรับพานรัฐธรรมนูญ บนยอดป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ สูง 3 เมตร หมายถึง เดือน 3 หรือเดือนมิถุนายน (ขณะนั้นนับเมษายนเป็นเดือนแรกของปี) ตรงกับเดือนที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และยังหมายถึง อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ภายใต้รัฐธรรมนูญ (นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ) ปืนใหญ่จำนวน 75 กระบอก (ปากกระบอกปืนฝังลงดิน) รอบฐานของอนุสาวรีย์ที่มีโซ่เหล็กร้อยไว้ หมายถึงปีที่ทำการเปลี่ยนแปลง การปกครอง (เลข 75 เป็นเลขท้ายสองหลักของปี พ.ศ. 2475) ส่วนโซ่ที่ร้อยไว้ด้วยกันหมายถึงความสามัคคี พร้อมเพรียงของคณะปฏิวัติ พระขรรค์ 6 เล่ม ที่รายล้อมรอบป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ หมายถึง หลัก 6 ประการของคณะราษฎร นอกเหนือจากนี้ บริเวณรอบ ๆ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ยังมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ นั่งชิลริมร้านกาแฟ ตลอดจนเดินเล่นทอดน่อง เพื่อซึมซับกับประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของอนุสาวรีย์แห่งความทรงจำ ที่ตั้ง : ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ

    เป็นบทละครที่มีเนื้อหาสมบูรณ์ครบถ้วน ประกอบด้วยเรื่องน่ารู้ และเรื่องแทรกที่สนุกสนาน ทั้งยังนำมาปรับปรุงเป็นบท สำหรับการเล่นละครได้อย่างดี ละครไทยแท้ๆ แต่เดิมมักจะเป็นละคร รำที่มีท่ารำบอกถึงเรื่องราวตามบทร้อง ดังนั้น ท่า รำและบทร้องจึงมีความหมายสอดคล้องต้องกัน ทั้งยังเข้ากับทำนองเพลงต่างๆที่ให้ไว้ด้วย เช่น เพลงช้า กราวนอก เสมอ โอด เป็นต้น

    พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒) ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ขึ้นเพื่อใช้ในพิธีสมโภชพระนครใหม่ คือ กรุงรัตนโกสินทร์ ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๒๘ - ๒๓๒๙ เนื้อเรื่องประกอบด้วยเรื่องราวน่ารู้ต่างๆ เริ่มด้วยหิรัญยักษ์ม้วนแผ่นดิน และกำเนิดตัว ละครสำคัญๆ ทั้งฝ่ายยักษ์ ลิง และมนุษย์ แล้วจึงดำเนินเรื่องการสู้รบ ระหว่างพระรามกับทศกัณฐ์ ซึ่งต้องสู้รบกันหลายครั้ง กว่าจะได้ชัยชนะเด็ดขาด ประกอบด้วยเรื่องราวที่น่าตื่นเต้นและเรื่องแทรกที่ สนุกสนานบันเทิง เสริมด้วยอารมณ์ขัน ทำให้ เรื่องราวมีสีสันเหมาะสมกับการแสดงละคร ทั้งยัง ให้คติธรรมที่ว่า ธรรมย่อมชนะอธรรม และ ยกย่องความซื่อสัตย์ ความกตัญญู บทละคร เรื่องนี้ได้รับความนิยมจากคนไทยทุกยุคทุกสมัย

    ตัวอย่าง จากบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนกุมภกรรณลับหอกโมกขศักดิ์ บอกชื่อเพลง โอด ดังนี้ ฯ๒คำฯ โอด

    เมื่อนั้น ทศเศียรสุริยวงศ์รังสรรค์
    เห็นน้องท้าวเจ็บปวดจาบัลย์ กุมภัณฑ์ตระหนกตกใจ
    จึ่งมีพระราชบัญชา เจ้าผู้ฤทธาแผ่นดินไหว
    ออกไปรณรงค์ด้วยพวกภัย เหตุใดจึ่งเป็นดั่งนี้ฯ

    บทละคร

    ใช้เป็นบทประกอบการแสดงละคร ประกอบด้วยบทสนทนา ที่ดำเนินไปตามท้องเรื่อง และรูปแบบของการแสดงไทย มีละครหลายชนิด ทั้งละครร้อง ละครรำ ละครใน ละครนอก โขน หนังตะลุง ลิเก ก่อนสมัยรัชกาลที่ ๕ ยังไม่มีละครพูด ดังนั้น จึงยังไม่แบ่งเนื้อเรื่องเป็นฉาก ไม่มีการกล่าวถึงฉากและการจัดฉากให้เห็นจริง เดิมละครไทยจะแสดงเฉพาะบางตอนเท่านั้น ไม่ได้แสดงตลอดทั้งเรื่อง เช่น เรื่องรามเกียรติ์ ตอนสีดาหาย ตอนหนุมานจองถนน เรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ตอนอิเหนาเผาเมือง ตอน อิเหนาตามบุษบา เป็นต้น จนกระทั่งไทย ได้แบบอย่างจากตะวันตก จึงมีการปรับปรุง ละครไทยขึ้นใหม่หลายรูปแบบ และเรียกชื่อ ต่างๆกัน เช่น ละครพันทาง ละครดึกดำบรรพ์ ละครร้องล้วนๆ ละครสังคีต ละครพูด นอกจากบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ฉบับพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๑ แล้ว ยังมีบทละคร ที่เป็นวรรณคดีมรดกที่มีคุณค่าอีกมาก เช่น บทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สัญลักษณ์แห่งประชาธิปไตยของคนไทย สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นที่ระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อสร้างและออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีและสิทธิเดช แสงหิรัญ เป็นศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์ อนุสาวรีย์ฯ แห่งนี้ ยังเปรียบเสมือนศูนย์กลาง ความเจริญ โดยถนนสายต่าง ๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ทั้งยังโดดเด่นสะดุดตาด้วยรูปหล่อลอยตัว ประกอบด้วยรูปเล่มรัฐธรรมนูญในสมุดไทย ประดิษฐาน บนพานแว่นฟ้า ที่สร้างด้วยทองแดง ขนาดความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน ตั้งบนฐานรูปทรงกลมด้านบนโค้งกลม ลานอนุสาวรีย์ยกสูงมีบันไดโดยรอบ รอบนอกลานอนุสาวรีย์มีครีบทรงแบนอยู่ 4 ทิศ ที่โคนครีบมีภาพแกะสลักลายปั้นนูน และมีรั้วเตี้ยกั้นรอบลานอนุสาวรีย์ ซึ่งรั้วนี้ใช้ปืนใหญ่โบราณจำนวน 75 กระบอก ฝังดินโผล่ท้ายกระบอกขึ้นมา เป็นเสา คล้องโซ่เชื่อมต่อกันครีบ 4 ด้าน สูงจากแท่นพื้น 24 เมตร มีรัศมียาว 24 เมตร หมายถึง วันที่ 24 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง สำหรับพานรัฐธรรมนูญ บนยอดป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ สูง 3 เมตร หมายถึง เดือน 3 หรือเดือนมิถุนายน (ขณะนั้นนับเมษายนเป็นเดือนแรกของปี) ตรงกับเดือนที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และยังหมายถึง อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ภายใต้รัฐธรรมนูญ (นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ) ปืนใหญ่จำนวน 75 กระบอก (ปากกระบอกปืนฝังลงดิน) รอบฐานของอนุสาวรีย์ที่มีโซ่เหล็กร้อยไว้ หมายถึงปีที่ทำการเปลี่ยนแปลง การปกครอง (เลข 75 เป็นเลขท้ายสองหลักของปี พ.ศ. 2475) ส่วนโซ่ที่ร้อยไว้ด้วยกันหมายถึงความสามัคคี พร้อมเพรียงของคณะปฏิวัติ พระขรรค์ 6 เล่ม ที่รายล้อมรอบป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ หมายถึง หลัก 6 ประการของคณะราษฎร นอกเหนือจากนี้ บริเวณรอบ ๆ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ยังมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ นั่งชิลริมร้านกาแฟ ตลอดจนเดินเล่นทอดน่อง เพื่อซึมซับกับประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของอนุสาวรีย์แห่งความทรงจำ ที่ตั้ง : ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ

    บทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒

    เป็นบทละครที่มีคุณค่าสมควรรักษาไว้เป็นมรดกไทย ประกอบด้วยศิลปะในการแต่งที่ประณีต บทละครมีขนาดกะทัดรัด รักษาขนบ ในการชมเมืองที่ได้แบบอย่างจากเรื่องรามเกียรติ์ และเน้น องค์ห้าของละครดี จนกลายเป็นแบบแผนของการแต่งบทละคร ในสมัยหลัง สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิตทรงยกย่องว่า บทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยนี้ เป็นบทละครที่ครบ องค์ห้าของละครดี คือ ๑. ตัวละครงาม (หมายถึง เครื่องแต่งตัว หรือรูปร่าง) ๒. รำงาม ๓. ร้องเพราะ ๔. พิณพาทย์เพราะ ๕. กลอนเพราะ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ครองราชย์ปี พ.ศ ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗) เป็นพระมหากษัตริย์ ที่ทรงคุณความดี ทั้งในด้านการปกครอง การสาธารณสุข และศิลปวัฒนธรรมหลายด้าน เช่น ด้านสถาปัตยกรรม ดนตรี วรรณคดี และการละครเนื้อเรื่องของบทละครเรื่องอิเหนา มาจากพงศาวดารชวา กล่าวถึงกษัตริย์วงศ์เทวัญสี่องค์ ซึ่งเป็นพี่น้องกัน และครองนคร ๔ นคร คือ กุเรปัน ดาหา กาหลัง และสิงหัดส่าหรี อิเหนา แห่งเมืองกุเรปันได้หมั้นหมายกับบุษบาราชธิดา เมืองดาหา ต่อมาได้พบกับจินตะหราก็หลงรัก เมื่อถูกบังคับให้เข้าพิธีอภิเษกสมรสกับบุษบา จึงลอบหนีออกจากเมือง ไปหาจินตะหรา จนกระทั่ง เมื่ออิเหนาไปช่วยท้าวดาหารบกับท้าวกะหมังกุหนิง และได้พบบุษบาก็หลงรัก จึงทำอุบายเผาเมือง ดาหา แล้วลักพาบุษบาไป ท้าวอสัญแดหวา โกธรแค้นในการกระทำอันมิชอบของอิเหนา จึงบันดาลให้ลมหอบบุษบา ไปตกที่แคว้นปะมอตัน อิเหนาต้องฟันฝ่าอุปสรรคมากมายระหว่างตามหา บุษบา จนกระทั่งได้เข้าพิธีอภิเษกสมรส เรื่องจึง จบลงด้วยความสุข คุณค่าพิเศษของบทละครเรื่องอิเหนา ซึ่งเป็นวรรณคดีมรดกนี้คือ ความบันเทิงอย่างสมบูรณ์ ที่ได้จากบทละครร้อยกรองประเภทละครรำ ทุกองค์ประกอบของบทละคร เช่น ท่ารำ และทำนอง เพลงมีความสัมพันธ์กันอย่างกลมกลืน บทชม โฉมก็สัมพันธ์กับการทรงเครื่อง ทุกอย่างสามารถ กำหนดได้บนเวทีละครอย่างสมเหตุสมผล ก่อให้ เกิดประเพณีการละคร โดยเฉพาะละครใน การ ดำเนินเรื่อง การแต่งบทร้อง ความยาวของบท เข้ากับลีลาท่ารำ นับเป็นศิลปะการแสดงที่ประณีต งดงามยิ่งของละครไทย นอกจากบทละครเรื่องรามเกียรติ์ ฉบับพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๑ แล้ว ยังมีบทละคร ที่เป็นวรรณคดีมรดกที่มีคุณค่าอีกมาก เช่น บทละครเรื่องอิเหนา พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สัญลักษณ์แห่งประชาธิปไตยของคนไทย สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นที่ระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อสร้างและออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีและสิทธิเดช แสงหิรัญ เป็นศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์ อนุสาวรีย์ฯ แห่งนี้ ยังเปรียบเสมือนศูนย์กลาง ความเจริญ โดยถนนสายต่าง ๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ทั้งยังโดดเด่นสะดุดตาด้วยรูปหล่อลอยตัว ประกอบด้วยรูปเล่มรัฐธรรมนูญในสมุดไทย ประดิษฐาน บนพานแว่นฟ้า ที่สร้างด้วยทองแดง ขนาดความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน ตั้งบนฐานรูปทรงกลมด้านบนโค้งกลม ลานอนุสาวรีย์ยกสูงมีบันไดโดยรอบ รอบนอกลานอนุสาวรีย์มีครีบทรงแบนอยู่ 4 ทิศ ที่โคนครีบมีภาพแกะสลักลายปั้นนูน และมีรั้วเตี้ยกั้นรอบลานอนุสาวรีย์ ซึ่งรั้วนี้ใช้ปืนใหญ่โบราณจำนวน 75 กระบอก ฝังดินโผล่ท้ายกระบอกขึ้นมา เป็นเสา คล้องโซ่เชื่อมต่อกันครีบ 4 ด้าน สูงจากแท่นพื้น 24 เมตร มีรัศมียาว 24 เมตร หมายถึง วันที่ 24 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง สำหรับพานรัฐธรรมนูญ บนยอดป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ สูง 3 เมตร หมายถึง เดือน 3 หรือเดือนมิถุนายน (ขณะนั้นนับเมษายนเป็นเดือนแรกของปี) ตรงกับเดือนที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และยังหมายถึง อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ภายใต้รัฐธรรมนูญ (นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ) ปืนใหญ่จำนวน 75 กระบอก (ปากกระบอกปืนฝังลงดิน) รอบฐานของอนุสาวรีย์ที่มีโซ่เหล็กร้อยไว้ หมายถึงปีที่ทำการเปลี่ยนแปลง การปกครอง (เลข 75 เป็นเลขท้ายสองหลักของปี พ.ศ. 2475) ส่วนโซ่ที่ร้อยไว้ด้วยกันหมายถึงความสามัคคี พร้อมเพรียงของคณะปฏิวัติ พระขรรค์ 6 เล่ม ที่รายล้อมรอบป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ หมายถึง หลัก 6 ประการของคณะราษฎร นอกเหนือจากนี้ บริเวณรอบ ๆ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ยังมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ นั่งชิลริมร้านกาแฟ ตลอดจนเดินเล่นทอดน่อง เพื่อซึมซับกับประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของอนุสาวรีย์แห่งความทรงจำ ที่ตั้ง : ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ

    ตัวอย่าง คำประพันธ์ ที่แสดงให้เห็นลักษณะอาการของตัวละคร เมื่อเสียใจ หรือผิดหวัง ฯ๑๐คำฯ

    ร่ายเมื่อนั้น โฉมยงองค์ระเด่นจินตะหรา
    ค้อนให้ไม่แลดูสารา กัลยาคั่งแค้นแน่นใจ
    แล้วว่าอนิจจาความรัก พึ่งประจักษ์ดั่งสายน้ำไหล
    ตั้งแต่จะเชี่ยวเป็นเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา
    สตรีใดในพิภพจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า
    ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์
    โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงช้ำจิต
    จะออกชื่อฦาชั่วไปทั่วทิศ เมื่อพลั้งคิดผิดแล้วจะโทษใคร
    เสียแรงหวังฝังฝากชีวี พระจะมีเมตตาก็หาไม่

    บทเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน

    เสภาเป็นบทกลอนชนิดหนึ่ง ใช้ขับ เพื่อความบันเทิง ได้รับความนิยมในหมู่นักเลงกลอนตั้งแต่สมัยอยุธยา และกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้ง ในสมัยรัชกาลที่ ๒ และ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ผู้แต่งเสภามักจะเลือกหานิทานนิยายเรื่องเล่าที่ตน เคยรู้จัก มาแต่งเป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน บทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผนจึงมีผู้แต่งหลายคน ใครพอใจ จะขับเสภาตอนในก็แต่งขึ้นเองเฉพาะตอนที่ตนขับ ดังนั้น บางตอนจึงมีผู้แต่งหลายคน แต่ละคนจะมี สำนวนเฉพาะตน และมีรายละเอียดแตกต่างกัน เมื่อมีการรวบรวมบทเสภาเป็นเรื่องเดียว จึงต้อง มีการตรวจสอบชำระ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเป็นประธานชำระ เรื่องขุนช้างขุนแผน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๐ และได้ทรงวินิจฉัยเกี่ยวกับผู้แต่งด้วย ปรากฏว่า มีผู้แต่งหลายคน เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว สุนทรภู่ ครูแจ้ง และยังไม่ทราบนามผู้แต่ง บทเก่าอีกหลายตอน

    บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน เป็นบทร้อยกรอง ที่มีความยาวมาก แต่งเป็นบทกลอน ซึ่งมีแบบแผนฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ แต่เมื่อขึ้นต้นตอนใหม่ หรือกล่าวถึงบุคคลใหม่ จะใช้คำขึ้นต้นว่า "ครานั้น" เช่น

    ครานั้นจึงโฉมเจ้าเณรแก้ว เย็นแล้วจะไปเทศน์ก็ผลัดผ้า ห่มดองครองแนบกับกายา แล้วไปวันทาท่านขรัวมี

    บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บางตอนกล่าวถึงพระมหากษัตริย์บ้าง แต่มิได้ต้องการแสดงเรื่องราวของพระมหากษัตริย์ นับได้ว่า เป็นเรื่องราวของคนไทยแท้ๆ โดยมิได้ดัดแปลงจากวรรณกรรมของชาติอื่น ตัวละครในเรื่องมีชีวิต จิตใจราวกับคนจริงๆ ที่มีชีวิตอย่างคนธรรมดา ซึ่งมีทั้งทุกข์และสุข ความสมหวัง และความ ผิดหวัง แก่นสำคัญของเรื่องกล่าวถึงรักสามเส้า ของขุนแผน ขุนช้าง และนางพิมหรือนางวันทอง การดำเนินเรื่องเริ่มต้นตั้งแต่ชีวิตวัยเด็กของตัว ละครเอกทั้งสาม ความสมหวังในรักของขุนแผน หรือพลายแก้วกับนางพิม แล้วกลายเป็นการ พลัดพรากจากกัน ไปสู่ความสมหวังในรักของ ขุนช้างที่มีต่อนางพิม เกิดการแย่งชิงความรักกัน ระหว่างขุนช้างกับขุนแผน การดำเนินเรื่องจะมี การแทรกเรื่องย่อยที่สนุกสนานตื่นเต้นสลับกับ ความเศร้ารันทด ขณะเดียวกัน ผู้อ่านผู้ฟังเสภา เรื่องนี้จะได้รับสารประโยชน์เกี่ยวกับค่านิยมของคนไทย ในด้านไสยศาสตร์ และโหราศาสตร์ ประเพณีต่างๆ ลักษณะของชีวิตความเป็นอยู่ สำนวนภาษา คำคมที่จับใจ และสุภาษิต การใช้ภาษาในบทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน เป็นตัวอย่างที่คนไทยยึดถือ และจดจำได้อย่างขึ้นใจ

    ลิลิตตะเลงพ่าย

    เป็นวรรณคดีไทยที่แต่งด้วยถ้อยคำไพเราะ และสามารถถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างลึกซึ้งอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะกวีได้ตอบสนองรสนิยมของคนไทย ที่มีจิตใจละเอียดอ่อน ชอบวรรณศิลป์ ชอบใช้ถ้อยคำที่คล้องจอง คมคาย และชวนคิด ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นหนังสือ ที่มีศิลปะการใช้ภาษา ที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการแต่ง เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงกอบกู้ชาติ ความดีเด่นของลิลิตตะเลงพ่ายคือ การเล่นคำ และการใช้โวหารอุปมาอุปไมย เพื่อให้เกิด ภาพพจน์ จินตนาการ และสะเทือนอารมณ์ กวีได้สอดแทรกความรู้ต่างๆมากมาย เช่น การจัดกระบวนทัพของไทยสมัยอยุธยา และยุทธศาสตร์ แต่ไม่เคร่งครัดในด้านภูมิศาสตร์ นอกจากนี้ กวียังได้นำชื่อนกและชื่อต้นไม้มาใช้ในบทครวญ ถึงนางตามแบบอย่างลิลิตยวนพ่าย

    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมสมเด็จ พระปรมานุชิตชิโนรส (พ.ศ. ๒๓๓๓ - ๒๓๙๖) ผู้ทรงพระนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวาสุกรี ทรงเป็นโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรสทรงอุปสมบท เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๔ และทรงครองเพศสมณะจนสิ้น พระชนม์ พระองค์ทรงเป็นนักปราชญ์ที่แท้จริง แม้จะทรงมีพระภารกิจด้านศาสนาอยู่มาก แต่ก็ ทรงศึกษาหนังสือทั้งด้านศาสนา นิติศาสตร์ โหราศาสตร์ ประวัติศาสตร์ จึงทรงพระนิพนธ์ หนังสือได้มากมาย ทางด้านวรรณคดี ทรงมีฝีมือ เป็นเลิศในการแต่ง โคลง ฉันท์ และลิลิต

    เนื้อเรื่องของลิลิตตะเลงพ่าย ได้เค้าเรื่องมาจากพงศาวดารสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช กล่าวถึงการเสด็จเสวยราชสมบัติ สืบต่อจากพระราชบิดา และมีพระราชประสงค์ ที่จะเสด็จไปตีเขมร เพื่อเป็นการแก้แค้นเขมร ที่ยกทัพมาตีชายแดนไทย ต่อจากนั้น เนื้อเรื่องกล่าวถึง พระเจ้าหงสาวดีโปรดให้พระมหาอุปราชากรีฑาทัพ มาตีไทย เมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบข่าว ศึกก็ยกทัพเสด็จออกไปทำศึกนอกพระนคร ระหว่างที่ทัพพม่าปะทะกับทัพหน้าของไทย ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวร และของสมเด็จพระเอกาทศรถตกมัน วิ่งเข้าไปท่ามกลางข้าศึก ตามลำพัง สมเด็จพระนเรศวรทรงระงับความตกพระทัย และตรัสท้าพระมหาอุปราชากระทำ สงครามยุทธหัตถี สมเด็จพระนเรศวรและ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงได้รับชัยชนะ เมื่อเลิก ทัพกลับพระนคร สมเด็จพระนเรศวรทรงปูน บำเหน็จรางวัลแก่ทหารผู้มีความชอบ และลงโทษ ประหารทหารที่ติดตามพระองค์ไม่ทัน ทั้งนี้เป็น ไปตามกฎมณเฑียรบาล แต่สมเด็จพระวันรัต วัดป่าแก้วได้กราบทูลขอพระราชทานอภัยโทษให้ แก่ทหารเหล่านั้น สมเด็จพระนเรศวรทรงยินยอม และโปรดให้ไปทำสงครามแก้ตัว หลังจากนั้น ทรงดำเนินพระราชกรณียกิจต่อ ด้วยการทำนุบำรุง หัวเมืองเหนือ และรับทูตจากเมืองเชียงใหม่ที่มา ขอเป็นเมืองขึ้น

    ตัวอย่าง โวหารแสดงความโกรธจากลิลิตตะเลงพ่าย ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงปรารภเรื่องที่จะไปปราบเขมร เนื่องจากเขมร มักจะยกทัพมาตีไทยระหว่างที่ไทยมีศึกกับพม่า ทรงรู้สึกโกรธและเจ็บช้ำพระทัย ทำให้คิดอะไรก็ หมดความรื่นรมย์ จึงต้องยกทัพไปปราบให้หาย แค้น ดังนี้

    "...คลุ้มกมลแค้นคั่ง ดังหนามเหน็บเจ็บช้ำ ย้ำ ยอกทรวงดวงแด แลบชื่นอื่นชม..." "...ครานี้กูสองตน ผ่านสกลแผ่นหล้า ควรไป ร้ารอนเข็น เห็นมือไทยที่แกล้ว แผ้วภพให้เป็น เผื่อน เกลื่อนภพให้เป็นพง..."
    บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน เป็นบทร้อยกรอง ที่มีความยาวมาก แต่งเป็นบทกลอน ซึ่งมีแบบแผนฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ แต่เมื่อขึ้นต้นตอนใหม่ หรือกล่าวถึงบุคคลใหม่ จะใช้คำขึ้นต้นว่า "ครานั้น" เช่น


    ครานั้นจึงโฉมเจ้าเณรแก้ว เย็นแล้วจะไปเทศน์ก็ผลัดผ้า ห่มดองครองแนบกับกายา แล้วไปวันทาท่านขรัวมี


    บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บางตอนกล่าวถึงพระมหากษัตริย์บ้าง แต่มิได้ต้องการแสดงเรื่องราวของพระมหากษัตริย์ นับได้ว่า เป็นเรื่องราวของคนไทยแท้ๆ โดยมิได้ดัดแปลงจากวรรณกรรมของชาติอื่น ตัวละครในเรื่องมีชีวิต จิตใจราวกับคนจริงๆ ที่มีชีวิตอย่างคนธรรมดา ซึ่งมีทั้งทุกข์และสุข ความสมหวัง และความ ผิดหวัง แก่นสำคัญของเรื่องกล่าวถึงรักสามเส้า ของขุนแผน ขุนช้าง และนางพิมหรือนางวันทอง การดำเนินเรื่องเริ่มต้นตั้งแต่ชีวิตวัยเด็กของตัว ละครเอกทั้งสาม ความสมหวังในรักของขุนแผน หรือพลายแก้วกับนางพิม แล้วกลายเป็นการ พลัดพรากจากกัน ไปสู่ความสมหวังในรักของ ขุนช้างที่มีต่อนางพิม เกิดการแย่งชิงความรักกัน ระหว่างขุนช้างกับขุนแผน การดำเนินเรื่องจะมี การแทรกเรื่องย่อยที่สนุกสนานตื่นเต้นสลับกับ ความเศร้ารันทด ขณะเดียวกัน ผู้อ่านผู้ฟังเสภา เรื่องนี้จะได้รับสารประโยชน์เกี่ยวกับค่านิยมของคนไทย ในด้านไสยศาสตร์ และโหราศาสตร์ ประเพณีต่างๆ ลักษณะของชีวิตความเป็นอยู่ สำนวนภาษา คำคมที่จับใจ และสุภาษิต การใช้ภาษาในบทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน เป็นตัวอย่างที่คนไทยยึดถือ และจดจำได้อย่างขึ้นใจ

    พระราชพิธีสิบสองเดือน

    หนังสือเรื่องนี้ ได้รับการยกย่องจากวรณคดีสโมสร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ ว่าเป็นยอดของความเรียงอธิบาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ ลงพิมพ์ในนิตยสารวชิรญาณ รายสัปดาห์ก่อน แล้วจึงรวมพิมพ์เป็นเล่มภายหลัง เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระราชพิธีต่างๆ ที่กระทำ ในแต่ละเดือนตลอดทั้งปี ทรงอธิบายตำราเดิม ของพระราชพิธี การแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือเลิก พิธี เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ พระราชพิธีตั้งแต่ต้นปีจนถึงปลายปี ยกเว้น พิธี เดือน ๑๑ ที่มิได้รวมไว้ ทรงศึกษาค้นคว้าข้อมูล ทั้งจากตำรา และจากคำบอกเล่าของบุคคล เช่น พระมหาราชครู พราหมณ์ผู้ทำพิธี และจากการสังเกตเหตุการณ์ ที่ทรงคุ้นเคย นับได้ว่า หนังสือเล่มนี้มีคุณค่าทางด้านสังคมศาสตร์ ทรงใช้ภาษา ที่เข้าใจง่าย และเขียนอธิบายตามลำดับจากง่าย ไปสู่ยาก จากอดีตมาสู่ปัจจุบัน เหมาะสมกับการ เป็นคำอธิบายชี้แจงให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตัวอย่าง พระราชพิธีลอยพระประทีป "การลอยพระประทีปลอยกระทงนี้ เป็นนักขัตฤกษ์ ที่รื่นเริงทั่วไปของชนทั้งปวงทั่วไป ไม่เฉพาะแต่การหลวง แต่จะนับว่าเป็นพระราชพิธี อย่างใดก็ไม่ได้ ด้วยไม่ได้มีพิธีสงฆ์ พิธีพราหมณ์ อันใดเกี่ยวข้องเนื่องในการลอยพระประทีปนั้น เว้นไว้แต่จะเข้าใจว่า ตรงกับคำว่าลอยโคมลงน้ำ เช่นกล่าวมาแล้ว แต่ควรนับว่าเป็นราชประเพณี ซึ่งมีมาในแผ่นดินสยามแต่โบราณ..." สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมสมเด็จ พระปรมานุชิตชิโนรส (พ.ศ. ๒๓๓๓ - ๒๓๙๖) ผู้ทรงพระนิพนธ์ลิลิตตะเลงพ่าย มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวาสุกรี ทรงเป็นโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรสทรงอุปสมบท เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๔ และทรงครองเพศสมณะจนสิ้น พระชนม์ พระองค์ทรงเป็นนักปราชญ์ที่แท้จริง แม้จะทรงมีพระภารกิจด้านศาสนาอยู่มาก แต่ก็ ทรงศึกษาหนังสือทั้งด้านศาสนา นิติศาสตร์ โหราศาสตร์ ประวัติศาสตร์ จึงทรงพระนิพนธ์ หนังสือได้มากมาย ทางด้านวรรณคดี ทรงมีฝีมือ เป็นเลิศในการแต่ง โคลง ฉันท์ และลิลิต

    เนื้อเรื่องของลิลิตตะเลงพ่าย ได้เค้าเรื่องมาจากพงศาวดารสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช กล่าวถึงการเสด็จเสวยราชสมบัติ สืบต่อจากพระราชบิดา และมีพระราชประสงค์ ที่จะเสด็จไปตีเขมร เพื่อเป็นการแก้แค้นเขมร ที่ยกทัพมาตีชายแดนไทย ต่อจากนั้น เนื้อเรื่องกล่าวถึง พระเจ้าหงสาวดีโปรดให้พระมหาอุปราชากรีฑาทัพ มาตีไทย เมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบข่าว ศึกก็ยกทัพเสด็จออกไปทำศึกนอกพระนคร ระหว่างที่ทัพพม่าปะทะกับทัพหน้าของไทย ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวร และของสมเด็จพระเอกาทศรถตกมัน วิ่งเข้าไปท่ามกลางข้าศึก ตามลำพัง สมเด็จพระนเรศวรทรงระงับความตกพระทัย และตรัสท้าพระมหาอุปราชากระทำ สงครามยุทธหัตถี สมเด็จพระนเรศวรและ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงได้รับชัยชนะ เมื่อเลิก ทัพกลับพระนคร สมเด็จพระนเรศวรทรงปูน บำเหน็จรางวัลแก่ทหารผู้มีความชอบ และลงโทษ ประหารทหารที่ติดตามพระองค์ไม่ทัน ทั้งนี้เป็น ไปตามกฎมณเฑียรบาล แต่สมเด็จพระวันรัต วัดป่าแก้วได้กราบทูลขอพระราชทานอภัยโทษให้ แก่ทหารเหล่านั้น สมเด็จพระนเรศวรทรงยินยอม และโปรดให้ไปทำสงครามแก้ตัว หลังจากนั้น ทรงดำเนินพระราชกรณียกิจต่อ ด้วยการทำนุบำรุง หัวเมืองเหนือ และรับทูตจากเมืองเชียงใหม่ที่มา ขอเป็นเมืองขึ้น

    ตัวอย่าง โวหารแสดงความโกรธจากลิลิตตะเลงพ่าย ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงปรารภเรื่องที่จะไปปราบเขมร เนื่องจากเขมร มักจะยกทัพมาตีไทยระหว่างที่ไทยมีศึกกับพม่า ทรงรู้สึกโกรธและเจ็บช้ำพระทัย ทำให้คิดอะไรก็ หมดความรื่นรมย์ จึงต้องยกทัพไปปราบให้หาย แค้น ดังนี้

    "...คลุ้มกมลแค้นคั่ง ดังหนามเหน็บเจ็บช้ำ ย้ำ ยอกทรวงดวงแด แลบชื่นอื่นชม..." "...ครานี้กูสองตน ผ่านสกลแผ่นหล้า ควรไป ร้ารอนเข็น เห็นมือไทยที่แกล้ว แผ้วภพให้เป็น เผื่อน เกลื่อนภพให้เป็นพง..."
    บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน เป็นบทร้อยกรอง ที่มีความยาวมาก แต่งเป็นบทกลอน ซึ่งมีแบบแผนฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ แต่เมื่อขึ้นต้นตอนใหม่ หรือกล่าวถึงบุคคลใหม่ จะใช้คำขึ้นต้นว่า "ครานั้น" เช่น


    ครานั้นจึงโฉมเจ้าเณรแก้ว
    เย็นแล้วจะไปเทศน์ก็ผลัดผ้า
    ห่มดองครองแนบกับกายา
    แล้วไปวันทาท่านขรัวมี


    บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บางตอนกล่าวถึงพระมหากษัตริย์บ้าง แต่มิได้ต้องการแสดงเรื่องราวของพระมหากษัตริย์ นับได้ว่า เป็นเรื่องราวของคนไทยแท้ๆ โดยมิได้ดัดแปลงจากวรรณกรรมของชาติอื่น ตัวละครในเรื่องมีชีวิต จิตใจราวกับคนจริงๆ ที่มีชีวิตอย่างคนธรรมดา ซึ่งมีทั้งทุกข์และสุข ความสมหวัง และความ ผิดหวัง แก่นสำคัญของเรื่องกล่าวถึงรักสามเส้า ของขุนแผน ขุนช้าง และนางพิมหรือนางวันทอง การดำเนินเรื่องเริ่มต้นตั้งแต่ชีวิตวัยเด็กของตัว ละครเอกทั้งสาม ความสมหวังในรักของขุนแผน หรือพลายแก้วกับนางพิม แล้วกลายเป็นการ พลัดพรากจากกัน ไปสู่ความสมหวังในรักของ ขุนช้างที่มีต่อนางพิม เกิดการแย่งชิงความรักกัน ระหว่างขุนช้างกับขุนแผน การดำเนินเรื่องจะมี การแทรกเรื่องย่อยที่สนุกสนานตื่นเต้นสลับกับ ความเศร้ารันทด ขณะเดียวกัน ผู้อ่านผู้ฟังเสภา เรื่องนี้จะได้รับสารประโยชน์เกี่ยวกับค่านิยมของคนไทย ในด้านไสยศาสตร์ และโหราศาสตร์ ประเพณีต่างๆ ลักษณะของชีวิตความเป็นอยู่ สำนวนภาษา คำคมที่จับใจ และสุภาษิต การใช้ภาษาในบทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน เป็นตัวอย่างที่คนไทยยึดถือ และจดจำได้อย่างขึ้นใจ

    นิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณี

    นิทานคำกลอนได้รับความนิยมมาเป็นเวลานาน ตั้งแต่สมัยอยุธยา เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เรื่องจักรๆ วงศ์ๆ หรือนิทานประโลมโลก คำว่า "จักร" และ "วงศ์" เป็นคำประกอบชื่อตัวเอกของเรื่อง เช่น จักรแก้ว ลักษณวงศ์ สุวรรณวงศ์ ซึ่งมีความหมายแสดงถึง ความมีค่า หรือของสูง ตรงกับรสนิยมของคนไทย แต่ก่อนนิทานคำ กลอนแต่งด้วยกาพย์และกลอนสวดคละกัน เริ่ม นิยมแต่งเป็นคำกลอน ในสมัยรัชกาลที่ ๓ มา จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ ดังจะเห็นได้จาก นิทานคำกลอนเรื่อง พระอภัยมณี เนื้อเรื่องของนิทานคำกลอนเรื่อง พระอภัยมณี กล่าวถึงเรื่องราวชีวิต และการผจญภัยที่สนุกสนาน ตื่นเต้น มีทั้งสุขและทุกข์ของตัวเอก คือ พระอภัยมณี ซึ่งมีลักษณะที่แปลกใหม่ แตกต่างไปจากตัวเอกในเรื่องอื่นๆ ที่คนไทยเคย ได้ยินได้ฟัง เช่น พระอภัยมณีเดินทางเข้าป่า เพื่อศึกษาหาความรู้เยี่ยงกษัตริย์ในสมัยนั้น แต่ มิได้เรียนวิชาศิลปศาสตร์ กลับเรียนวิชาเป่าปี ซึ่งสามารถสะกดคนฟังให้หลับได้ ศรีสุวรรณซึ่ง เป็นพระอนุชาของพระอภัยมณีก็เลือกเรียนวิชา กระบี่กระบอง การผจญภัยที่ตื่นเต้นของพระ- อภัยมณี เริ่มด้วยพระอภัยมณีถูกนางผีเสื้อสมุทร ลักพาไปอยู่กินกับนางในถ้ำใต้น้ำ จนกระทั่งนาง ได้ให้กำเนิดบุตรชายชื่อ สินสมุทร ซึ่งมีฤทธิ์และ ความสามารถเหนือมนุษย์ธรรมดา สามารถพา เนื้อเรื่องของนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัย- มณีกล่าวถึงเรื่องราวชีวิตและการผจญภัยที่ สนุกสนาน ตื่นเต้น มีทั้งสุขและทุกข์ของตัวเอก คือ พระอภัยมณี ซึ่งมีลักษณะที่แปลกใหม่ แตกต่างไปจากตัวเอกในเรื่องอื่นๆ ที่คนไทยเคย ได้ยินได้ฟัง เช่น พระอภัยมณีเดินทางเข้าป่า เพื่อศึกษาหาความรู้เยี่ยงกษัตริย์ในสมัยนั้น แต่ มิได้เรียนวิชาศิลปศาสตร์ กลับเรียนวิชาเป่าปี ซึ่งสามารถสะกดคนฟังให้หลับได้ ศรีสุวรรณซึ่ง เป็นพระอนุชาของพระอภัยมณีก็เลือกเรียนวิชา กระบี่กระบอง การผจญภัยที่ตื่นเต้นของพระ- อภัยมณี เริ่มด้วยพระอภัยมณีถูกนางผีเสื้อสมุทร ลักพาไปอยู่กินกับนางในถ้ำใต้น้ำ จนกระทั่งนาง ได้ให้กำเนิดบุตรชายชื่อ สินสมุทร ซึ่งมีฤทธิ์และความสามารถเหนือมนุษย์ธรรมดา สามารถพาพระอภัยมณี หนีนางผีเสื้อสมุทรไปสู่อิสรภาพได้ ขณะว่ายน้ำหนี ได้มีครอบครัวเงือก ช่วยพาไปยังเกาะแก้วพิสดาร พระอภัยมณีได้เงือกสาวเป็นชายา และมีบุตรชายชื่อ สุดสาคร การผจญภัยของพระอภัยมณีครั้งต่อไป เป็นการสู้รบกับอุศเรน คู่หมั้นของนางสุวรรณมาลี พอได้รับชัยชนะ ก็เดินทางไปยังเมืองผลึก และอภิเษกสมรสกับนางสุวรรณมาลี นางละเวงขึ้นครองเมืองลังกา และคิดทำศึกกับเมืองผลึก นางใช้ไสยศาสตร์เป็นอาวุธ ทำให้พระอภัยมณีคลุ้มคลั่ง และถูกนางละเวงหลอกไป จนถึงเมืองลังกา ต่อมา พระอภัยมณีเบื่อหน่ายการใช้ชีวิตทางโลก จึงออกบวชเป็นฤาษี นางสุวรรณมาลีกับนางละเวงก็ออกบวชเป็นชี ส่วนสินสมุทรได้ครองเมืองผลึก และสุดสาครได้ครองเมืองลังกา เรื่องก็จบลงด้วยความสุข ตามแบบฉบับของวรรณกรรมนิทาน


    ความแปลกใหม่ และความสนุกสนาน ที่ได้รับ ทำให้นิทานคำกลอนเรื่อง พระอภัยมณี เป็นที่ติดใจผู้อ่านผู้ฟังอย่างแพร่หลาย ก่อให้เกิดจินตนาการ ที่น่าตื่นเต้นระทึกใจ เช่น การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้า การผูกสำเภายนต์ การสร้าง ตัวละครที่มีลักษณะครึ่งสัตว์ครึ่งมนุษย์ การใช้ เวทมนตร์คาถา เป็นต้น ทำให้นิทานคำกลอนมี หลายรส ขณะเดียวกัน สุนทรภู่ กวีผู้แต่งนิทานคำกลอน ได้แทรกคติชีวิตได้ทุกตอนอย่างเหมาะสม เช่น สอนให้มีความกตัญญูต่อบิดามารดา และสอนให้หยั่งรู้ถึงธรรมชาติจิตใจคน ปรากฏใน ตอนที่สุดสาครถูกผลักตกเหว เพราะหลงเชื่อ ชีเปลือย ซึ่งเป็นคนแปลกหน้า ดังนี้


    "...แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์
    มันแสนสุดลึกล้ำเหลือกำหนด
    ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด
    ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน้ำใจคน
    มนุษย์นี้ที่รักอยู่สองสถาน
    บิดามารดารักมักเป็นผล"

    คุณค่าเด่นด้านอื่นๆของนิทานคำกลอนเรื่อง พระอภัยมณี คือ ให้ความรู้ และขยายโลกทัศน์ เกี่ยวกับสงคราม ทั้งสงครามที่สู้กันด้วยอาวุธ ยุทโธปกรณ์ และการใช้เสียงปี่ ซึ่งตีความว่าคือ เสียงสื่อสารมวลชน หรือการใช้ข่าวเป็นอาวุธ ทำลายฝ่ายตรงข้าม ดังที่ปรากฏในสมัยสงครามโลก และแม้จะไม่มีสงครามแล้ว ข่าวก็ยังเป็นอาวุธที่ใช้ ทำลายล้างกันได้ วรรณคดีมรดกไทยเป็นสมบัติอันล้ำค่าของชาติ เพราะมีคุณประโยชน์มากมาย ทั้งการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา ให้ความรู้รอบตัว และความรู้ที่เป็นศาสตร์ ดังนั้น จึงมีผู้นิยมศึกษา วรรณคดีเพื่อเป็นภูมิความรู้ประดับตน นอกจากนี้ วรรรณคดีไทยยังเป็นแหล่งรวมวัฒนธรรมของคนหลายกลุ่ม หลายยุคสมัย ทำให้คนรุ่นหลังเข้าใจ และเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์วัฒนธรรม ซึ่งบ่งชี้ถึงความเจริญของชนชาติไทย ทั้งทางด้านภาษา และศิลปะ ดังนั้น การรู้จักวรรณคดีไทย ด้วยการอ่านและศึกษา จึงนำคุณประโยชน์มาสู่ตนเอง และประเทศชาติโดยส่วนรวม